สวัสดีจ้า มาต่อยอดการเรียนรู้สำหรับท่านที่ต้องการมีอีบุ๊คเป็นของตัวเอง แต่ยังไม่รู้จะเริ่มยังไงก่อนหลัง อ่านบทความที่อ้อมได้แชร์ไปแล้ว รู้สึกดี ได้มุมมองใหม่ แต่ก็ยังนึกภาพไม่ออกจะเริ่มยังไง บ้างก็ถึงกับโทษตัวเองเป็นคนเข้าใจอะไรยากเอง ที่จริงแล้ว ตัวอ้อมเองก็เป็นคนที่เข้าใจอะไรยากเหมือนกันจ้า กว่าจะทำออกมาได้ขนาดนี้ ต้องบอกว่าผ่านกำแพงความคิดตัวเอง มานักต่อนักจ้า ท้อบ้างหยุดบ้าง แต่ก็ทำจนสำเร็จออกมาเป็นตัวงาน
จากหัวข้อก็บอกไว้อยู่แล้วว่า 8 ขั้นตอนเพื่อสร้างอีบุ๊คของตัวเอง สำหรับมือใหม่ งานนี้ฟรี งานนี้ไม่มีเสียตังค์สักกะบาก อ้อมแนะนำให้ฟรีๆ เก็บจากประสบการณ์มาแชร์ให้เห็นภาพกันเลย กับ 8 ขั้นตอนที่จะได้พูดถึงกัน เอาล่ะเราไปเริ่มกันเลยจ้า
การค้นหา อ้อมใช้เครื่องมือที่เราคุ้นเคยกันดีนั้นคือ Google จ้า อาศัยพี่กูเท่านั้นค่ะ นำข้อมูลที่เราคัดแยกเอาไว้มาค้นหา โดยอ้อมจะดูตัวเลขผลค้นหาที่ได้ หากตัวเลขมีประมาณเยอะๆ หลักแสันขึ้นแสดงว่า ข้อมูลหรือหัวข้อนั้นๆ มีคนสนใจเยอะ คีย์,ประโยคที่เรายำไปค้นหาถึงได้มีคนมาแนะนำข้อมูลเอาไว้เยอะขนาดนี้ แต่ถ้าผลการค้นหามีน้อยแบบหลักหมื่นหลักพัน แต่เวลาเราพิมพ์ข้อมูลลงข่องการค้นหา มีคำแนะนำต่อนอดออกมาเยอะ หรือหลายคีย์แสดงว่ามีคนเคยค้นหาข้อมูลตัวนั้นอยู่ แต่อาจจะยังไม่มีคนออกมาเผยแพร่ หรือ หาจ้อมูลได้ยาก แต่ถ้าผลกาค้นหามีน้อยและไม่มีคีย์แนะนำต่อยอดเลย แสดงว่าข้อมูลหรือหัวข้อนั้นๆ ที่เราคัดไว้ อาจจะยังไม่โดนหรือ เราอาจจะต้องเปลี่ยนคำพูด รูปแบบประโยคใหม่เพื่อนำมาค้นหาอีกครั้งเพื่อวัดผล
โดยส่วนตัวอ้อมวัดผลให้ตัวเลขอยู่ช่วงกลางๆ บางท่านอาจจะงง ว่ากลางแบบไหน อ้อมจะค้นหาค่ย์ที่อ้อมคัดกลองทุกคีย์ ทุกประโยค แล้วเอาตัวเลขเยอะสุด และต่ำสุดมาเปรียบเทียบกัน จากนั้นอ้อมจะคิดในใจว่าตัวเลขผลการค้นหาที่เราอยากเอามาเป็นหัวข้อในการเขียนอีกบุ๊คคืออะไร คีย์ไหน ประโยคไหน เมื่อได้คีย์ คำ หรือประโยคที่เหมาะสมแล้ว อ้อมก็จะเริ่มหาคีย์รองสำหรับนำไปประกอบเนื้อหา ค่ย์รองในที่นี้คือคีย์หรือประโยคที่เกี่ยวข้องกับค่ย์หลัก
บางท่านอาจจะสงสัยแล้วว่าทำไมต้องหาคีย์หลักคีย์รองด้วย เราเขียนอีบุ๊คไม่ใช่เหรอ คำตอบที่อ้อมจะให้คือ ค่ย์หลักคีย์รองเหล่านี้จะเป็นตัวปูทางไปหาอีบุ๊คขอวเราอย่างดีเลยจ้า ในบทความก่อนหน้าอ้อมได้แนะนำเอาไว้แล้วว่าก่อนที่อ้อมจะเปิดตัวอีบุ๊คอ้อมจะมีการโปรยเนื้อหา บทความออกไปในปริมาณนึงเลย และตบท้ายด้วยบทความเกี่ยวกับอีบุ๊คแบบเต็มๆ ในวันเปิดตัวอีบุ๊ค จากนั้นก็จะเป็นยทความสนับสนุนการขายเสริมบทความเปิดตัวอีกที และคีย์หลักคีย์รองเหล่านี้เราจะใช้สำหรับเขียนยทความ รสมถึงเนื้อหาในอีบุ๊คของเรานั่นเองจ้า
ยิ่งผลการค้นหามีตัวเลขประมาณการณ์เยอะเท่าไร ความนิยมในเนื้อหานั้นๆ ก็มีโอกาสที่เราจะขายอีบุ๊คได้สูงเช่นกัน
ทำไมคุณอ้อมถึงแนะนำ ให้เอาคีย์ที่มีตัวเลขประมาณการณ์แบบกลางๆ ล่ะ ทำไมไม่เอาคีย์ที่เป็นตัวเลขแบบสูงๆ ไปเลย น่าจะส่งผลทำให้อีบุ๊คขายดีมากเลยทีเดียว แน่นอนสำหรับความคิกแบบนั้นอ้อมคงไม่ปฏิเสธว่าไม่ถูก แต่เพราะเราเป็นมือใหม่ การที่เราออกตัวแรงเกินไปก็อาจจะส่งผลเสียมากกว่าที่จะเกิดผลดี เช่น อีบุ๊คดังไปโดนเพื่อนร่วมโลกนิสัยดีนำไปปล่อยฟรีให้เป็นต้นจ้า ดังนั้นอะไรที่อยู่กลางๆ จะถือว่าดีในระดับมือใหม่ แต่ถ้าเรามองว่าอยากออกตัวแรงก็ไม่เป็นไร งานนี้จัดเต็มได้เลยจ้า
นั่นคือวิธีการสำรวจความต้องการที่เราสามารถทำได้กันทุกๆ คน วิธีต่อมาที่อ้อมเคยทำมาคือ การสอบถามไอเดียจากเพื่อนที่ชอบเรื่องราวเดียวกัน และสไตล์ความชอบคล้ายๆ กัน หาไอเดียจากความคิดเห็น จากการพูดคุยสนทนา จากประสบการณ์อ้อมได้ไอเดียการทำอีบุ๊คเยอะมากๆ จากการพูดคุยสนทนาทั้งจากลูกค้า จากเพื่อนร่วมงาน จากครอบครัว บางเรื่องราวได้รับไอเดียจากคนที่ไม่เคยชอบอะไรเหมือนเราเลย แต่คำพูดเขาทำให้เรามองมุมมองของคนที่ไม่เคยรู้ได้ดีมากๆ สิ่งที่เราต้องทำคือ ทำยังไงเขาถึงจะชอบอะไรเหมือนๆเรา หรือทำให้เขาอยากรู้บางสิ่งที่เขาอาจจะยังไม่เคยรู้มาก่อน สอบถามความคิดเห็น คุยกันเล่นๆ ก็ได้ไอเดียดีๆ นำมาต่อยอดเป็นประโยคเป็นคีย์ เพื่อค้นหาทาง Google และต่อยอดเป็นบทความปูพื้นฐานไปหาอีบุ๊ค
มาถึงตรงนี้เชื่อว่าหลายคนคงเริ่มสงสัยแล้วว่า แล้วกรณีความชอบที่เราอยากทำ ถ้าเกิดว่าค้นหาแล้วไม่มีจะทำยังไง จากประสบการณ์ และจากที่เคยทำมา พฤติกรรมของคนเราส่วนใหญ่ในยุคนี้ หากหาต้องการอยากรู้ข้อมูลเกร่ยวกับอะไรสักอย่าง จะเริ่มต้นจากอินเตอร์เน็ต เพราะเข้าถึงง่ายมากๆ ลำดับต่อมาจากหนังสือและห้องสมุด ทุกๆ ครั้งที่มีการค้นหาคำบางคำ หรือประโยคบางประโยคระบบของ Google จะทำการเก็บข้อมูลพื้นฐานเอาไว้ เพื่ออ้างอิงสำหร้บการทำสถิติต่อยอด หากกรณีสิ่งที่เราชอบ และอยากทำเป็นอีบุ๊ค ลองทำจามขั้นตอนที่อ้อมแนะนำเอาไง้แล้ว ก็ยังไม่ได้ หร่อไม่มีข้อมูลเพียงพอ หรือมีน้อยมากๆ ก็อย่าพึ่งตกใจวาาเรื่องที่เราชอบจะไม่มีคนชอบเหมือนกัน
ที่อ้อมอยากแนะนำหากเกิดกรณีข้อมูลไม่เพียงพอสำหรับให้เราตัดสินใจ ให้ลองนึกถึงเว็บฯบอร์ดที่เรารู้จัก หรือเว็บฯบอร์ดดังๆ เช่น พันธ์ทิพย์, thaiseoboard, Sanook, kapook, dekdee, เป็นต้น ลองสร้างไอดี หรือยืมไอดีเพื่อนๆ เพื่อขอตั้งกระทู้ โดยให้สมมติตัวเองว่าอยากรู้นั้นเรื่องนี้ที่เกี่ยวหับสิ่งที่ตัวเองชอบ เพื่อดูผลตอบรับจากคอมเม้นฯว่สจะมีคนสนใจสิ่งที่เราตั้งคำถามไปหรือไม่ แน่นอนหากเป็นเว็บฯบอร์ดดังๆ ก็มักจะมีคนเข้าอยู่มากๆ เป็นวิธีการที่เราสามารถนำไปมาปรับใช้ต่อยอดของเราเองได้เลย หรือบางคนอาจจะไม่มั่นใจ ไม่ชัวร์ก็ทำทั้งสองวิธีควบคู่กันไปเลย แต่อ้อมเชื่อว่าสิ่งที่เราชอบจะมีคนที่ชื่นชอบเหมือนเรา อยากรู้ และยากต่อยอดเหมือนเราเช่นกัน โดยส่วนตัวอ้อมจะลุยเลย หากได้ข้อมูลพื้นฐานที่แนะนำข้างต้นแล้ว
มาถึงหัวข้อนี้ เมื่อเราผ่านกระบวนการในขั้นตอนแรกมาแล้ว ตอนนี้เราก็จะได้หัวข้อสำหรับการสร้างอีบุ๊คของเราเองมาแล้ว
เมื่อได้หัวข้อแล้ว เราจะต้องมาแตกย่อยรายละเอียด ถึงความต้องการ ในขั้นตอนแรกให้สมมติว่าเราเป็นผู้ซื้อ เมื่อพิจารณาในหัวข้อที่เราแตกย่อยออกมาบางส่วน เมื่อเราพบเห็นอีบุ๊คเล่มนี้ เราจะได้อะไรจากอีบุ๊คเล่มนี้ ความรู้สึกเหมือนเรากำลังอยากรู้เรื่องนี้ เดินไปร้านหนังสือแล้วมองหา หนังสือสักเล่ม จากนั้นก็หยิบเล่มเป้าหมายออกมาดู เพื่อจะดูหัวข้อในหนังสือ คำโปรย สารบัญ เพื่อหาหัวข้อ เนื้อเรื่องที่เราต้องการอยากรู้ อยากศึกษา รายละเอียดที่อ้อมไล่ลำดับมา เราต้องมีเขียนเอาไว้ในบทความสำหรับขายอีบุ๊ค และส่วนหนึ่งอยู่บนหน้าปกอีบุ๊คด้วย บอกเล่าถึงความคาดหวัง สิ่งที่จะได้รับเมื่อได้อ่านอีบุ๊คเล่มนี้ รวมถึงของแถมถ้ามี บอกเลยว่าของแถมเป็นตัวดึงดูด และจูงใจลูกค้าในระดับนึงเลยก็ว่าได้ ยกตัวอย่างเช่น อ้อมทำอีบุ๊คเกี่ยวกับไอมาโคร ของแถมที่อ้อมมีก็จะเป็นชุดโค้ดไอมาโครแบบสำเร็จรูป สำหรับทำงานต่อยอดได้ ถ้าเป็นอีบุ๊คเกี่ยวกับการค้าขาย ของแถมก็จะเป็นลิสรายชื่อเว็บโพสประกาศ เป็นต้น
ในขั้นตอนต่อมา เมื่อเราลองสมมติตัวเองแล้ว เราลองมองหาเพื่อน พี่น้อง หรือครอบครัวที่พอจะชอบเรื่องราวหรือหัวข้อที่เราจะเขียนอีบุ๊ค จากนั้นลองสอบถามเขา สมมติถ้ามีหนังสือเรื่องนี้ อยากรู้อะไรมากที่สุดถ้าได้อ่านอีบุ๊คเล่มนี้หรือถ้ามีอีบุ๊คที่เกี่ยวกับเรื่องนี้ อยากได้ไหม เป็นต้น
โดยจิตวิทยา หากอีบุ๊คของเราสามารถต่อยอดเป็นรายได้ขอวกลุ่มเป้าหมายได้ จะเป็นตัวกระตุ้นการทำงานของลูกค้าได้ดีในระดับนึง โดยมากอ้อมจะไม่เน้นอีบุ๊คที่แนะนำให้ลูกค้าทำตามแล้วได้เงิน เพราะอีบุ๊คเราขายได้ในระยะสั้นเท่านั้น อ้อมจะไม่บอกว่าอ่านอรบุ๊คเล่มนี้แล้วรับรองว่าคุณมีรายได้เท่านั้นเท่านี้ ส่วนใหญ่อียุ๊คอ้อมออกไปในทาง How to วิธีการต่างๆ มากกว่า เพราะเรื่องแบบนี้เราทำรายได้แบบยาวๆ ได้
การทำให้ผู้ซื้อรับรู้คร่าวๆ ว่าอ่านแล้วจะได้อะไร อีบุ๊คมีอะไรประกอบบ้าง ถือมีจุดขายด่านแรกๆ ที่ลูกค้าจะตัดสินใจสั่งซื้ออีบุ๊คจากเรา
ถือเป็นขั้นตอนที่สำคัญมากๆ ขั้นตอนนึง หลายๆ คนมักหลงทางเวลาทำงาน อ้อมกำลังหมายถึง เมื่อเรากำลังใจจดใจจ่ออยู่กับเรื่องใดเรื่องนึง เราจะสามารถแตกย่อยในรายละเอียดเนื้อหา ปัญหาต่างๆ ได้มากกว่าปกติ เมื่อเจอปัญหา หรือมีความคิดอะไรใหม่แตกย่อยขึ้นมาเราอาจจะไปจดจ่ออยู่กับสิ่งนั้นมากเกินจนลืมตารางงานและเป้าหมายเดิมที่ตั้งไว้ การกำหนดหัวข้อ และกำหนดระยะเวลาการทำงานทั้งหมดเอาไว้ก็เพื่อไม่ให้เราหลงทางกับแนวคิดใหม่ๆ ที่เพิ่มขึ้นมา ส่วนแนวคิดอะไรที่มีเพิ่มเข้ามาเราอาจจะลิสรายการเอาไว้ เพื่อต่อยอดอีบุ๊คเล่ม 2 หรืออีบุ๊คแถมฟรีควบคู่การขายเล่มแรกนี้ก็ได้
หัวข้อนี้ถ้าเปรียบ ก็คงเสมือนการไปเที่ยวเมืองที่เจริญแล้ว เช่น ญี่ปุ่น เป็นต้นเรามักพบว่า สินค้าหลายๆ ชิ้นรสชาติไม่ได้ดีเด่นอะไร แต่ทำไมแพ็คเกตสวยสะดุดตาน่ามอง น่าหยิบมากขนาดนี้ เช่นเดียวกัน การทำอีบุ๊ค เรื่องการกำหนดรูปแบบ การจัดวาง รวมถึงการนำเสนอ ก็เหมือนการสร้างหีบห่อ แพ็คเกตต่างๆ เราควรมีการจัดระเบียบ การออกแบบ เพื่อให้งานนำเสนอของเรา ไม่ดูจำเจ ดูน่าเบื่อ โดยส่วนตัวอ้อมชอบอะไรที่เป็นระเบียบ อ้อมจะใช้หลักการพื้นฐานเพื่อปรับใช้กับงาน เช่นการจัดย่อหน้า การแทรกรูป การนำเสนอด้วยวีดีโอ แต่อย่างไรก็ตามทุกๆ อย่างก็จะไปหยุดอยู่ที่เนื้อหาในอีบุ๊ค หากเนื้อหาดี มีคุณภาพ บอกเลยว่ามีชัยไปกว่าครึ่งจ้า อ้อมกำลังหมายถึงเนื้อหาที่แนะนำกันแบบตรงๆ เข้าถึงวิธีการต่างๆ จริงๆ ไม่ใช่แค่หยิบความหมาย และทฤษฎีมาคุยกัน ของแบบนี้หาอ่านในห้องสมุดก็ได้ อะไรประมาณนั้นจ้า
ที่ต้องมีการตัดต่อตกแต่งก็เพราะ เราไม่อาจรู้ได้ว่าเวลาที่เราเปิดขายไปนานๆ เข้าจะมีเพื่อนร่วมโลกของเรานำไปปล่อยต่อหรือไม่ ซึ่งแน่นอนว่ามีโอกาสเป็นไปได้สูง จุดนี้เราคงไม่อาจห้ามได้ หรือป้องกันได้ยากมากๆ สิ่งที่อ้อมทำอยู่ตลอดคือ พยายามใส่ความเป็นตัวตนของเราเข้าไปในตัวงานให้มากที่สุด รูปถ่าย ลายเซนต์ เอกลักษณ์ ต่างๆ เพื่อให้คนที่ร้บต่อ สามารถรับรู้ได้ว่าตัวงานนี้ อีบุ๊คเล่มนี้เป็นของใคร ถือว่สเป็นการต่อยอดการโฆษณาไปในตัวจ้า เพราะถ้าของๆ เราดีจริงๆ ยังไงเขาก็กลับมาซื้อกับเรา แต่อาจจะเป็นเล่มอื่นนะคะ
กระบวนการสร้างเนื้อหา หากเป็นบทเกริ่นนำทั่วไป เราอาจจะจ้างนักเขียนทำให้ก็ได้ มีคนรับเขียนบทความเพียบเลย ราคาก็น่าจะอยู่ที่ 400-800 บาท ขึ้นอยู่กับเนื้อหา ความต้องการ และความรู้เชิงเทคนิคของแต่ละคน รูปภาพถ้าเราไม่ถนัด ควรค้นหาเครื่องมือ ที่จะช่วยให้เราทำงานง่ายขึ้น แบบว่าเอารูปแปะแล้วก็ได้ผลงานสวยๆ มาประกอบอีบุ๊ค ในโลกออนไลน์มีเพียบเลยจ้า แต่โดยส่วนตัว อ้อมใช้การถ่ายทำ แล้วก็ใส่ลายเซนต์ ปรับระดับเสียงนิดหน่อยก็ใช้งานได้เลย ส่วนงานกราฟฟิค บางครั้งอ้อมก็ทำจากโปรแกรม Paint บางครั้งก็โปรแกรมตกแต่งงานกราฟฟิค เน้นความเรียบงาน สื่อสารเข้าใจ ก็ถือว่าใช้งานได้ ขายออกแล้วจ้า
ขั้นตอนนี้เอาเข้าจริงๆ โดยส่วนตัวอ้อมไม่ได้รอให้อีบุ๊คเสร็จแล้วค่อยเริ่มหาแหล่งที่จะโปรโมท อย่างที่ได้แนะนำมาในบทความครั้งก่อนหน้า พอรู้ว่าตัวเองจะทำอีบุ๊คเรื่องอะไร มีหัวข้อแบบไหน อ้อมก็จะเริ่มสร้างบทความ สร้างบล็อค สร้างเนื้อหาเพื่ออัพขึ้นบล็อค โปรโมทบทความอย่างต่อเนื่อง ตามโลกโซเชียว เพื่อเป็นการปูทางให้กับอีบุ๊คที่จะเปิดตัวในเร็ววัน เนื้อหาที่อ้อมโปรโมทออกไปส่วนใหญ่จะเป็นเนื้อหาสาระความรู้ที่เกียวกับหัวข้อสำคัญ นำเสนอปัญหา วิธีแก้ไขเบื่องต้น แต่ไม่ได้นำเสนอจนหมดเปลือก อ้อมจะบอกเล่าวิธีการบางขั้นตอนที่เราๆ ทำกัน แต่เอาวิธีการสำคัญๆ ที่เป็นวิธีการต่อเนื่องไปเน้นกันที่อีบุ๊คอีกรอบ เพื่อให้ผู้อ่านรับรู้ได้ว่านอกจากประโยชน์หาก ณตอนที่อ่านบทความได้สาระความรู้อะไร แต่หากได้ซื้ออีบุ๊คเราจะได้รู้ยิ่งกว่า
หากให้เปรียบเพื่อมองเห็นภาพมากขึ้น ก็เหมือนการปลูกพืช ไม่ว่าจะเป็นไม้ล้มลุก ไม้ยืนต้นต่างๆ แน่นอนว่าเราปลูกพืชย่อมหวังผล ผลนั้นจะเป็นดอก หรือผลที่กินได้ก็ตามแต่ ก็เปรียบเหมือนการขายของได้เช่นกัน
แต่การที่เราจะได้กินผล ไม่ใช่ว่าปลูกปุ๊บได้กินผลผลิตปั๊บ เราต้องมีการเตรียมพื้นที่ เตรียมดิน เมื่อเริ่มปลูก เราก็ต้องมีการใส่ปุ๋ยรดน้ำ อยากให้ออกใบเยอะ ก็ต้องใส่ปุ๋ยบำรุงใบ อยากให้รากแข็งแรงก็ต้องเน้นปุ๋ยกระตุ้นการแตกราก ทั้งสองส่วนหากเราขาดส่วนใดส่วนหนึ่ง คงไม่ต้องพูดถึงการแตกดอกก่อนที่จะเป็นผลเลยจ้า ไม่มีแน่นอน หรทอมีก็น้อยมากๆ ดังนั้น พื้นฐานเป็นเรื่องสำคัญเราจะทำอีบุ๊คเรื่องใด เราก็ควรมีการปูทาง ควรมีการออกมาแชร์สาระคสามรู้อย่างต่อเนื่อง เป้าหมายเพื่อเพิ่มความชำนาญเพื่อเพิ่มฐานให้กับอีบุ๊คของเรา และเป็นเส้นทางระยะยั่งยืนที่จะทำให้อีบุ๊คเล่มนั้นๆ ขายได้ยาวๆ
แล้วถ้าเราไม่เตรียมแบบที่ว่าล่ะ มันยุ่งยากเกินไป ขอเป็นทำเสร็จซื้อแบนเนอร์ยได้ไหม แบบนี้ก็ได้ค่ะ แต่ได้ระยะสั้น การที่เราเอาเงินไปลงทุนเพื่อให้คนสนใจอีบุ๊คของเรา แน่นอนโอกาสขายได้มีแน่ๆ เพระาคนเห็นอีบุ๊คเราเยอะ แต่ถ้าเราเคยซื้อแล้วไม่ซื้ออย่างต่อเนื่อง ผลที่ได้คือ จากที่มีลูกค้าเพียบเลย กลับกลายเป็นหายวั๊ปไปกับตา ตรงจุดนี้อาจจะต้องเลือกว่าเราเหมาะกับวิธีไหนนะคะ หรือจะลุยทั้งสองแบบก็ไม่ว่ากันจ้า
ทั้งนี้การตรวจสอบเนื้อหา อ่านทบทวนอีกรอบ จะทำให้เราแน่ใจได้ว่า การสื่อสารที่เราต้องการสื่ออกไปนั้นใช่อย่างที่ต้องการจริงๆ อ้อมเคยลองมานะ่งทบทวนอีบุ๊คเล่มเดิม บางครั้งก็ต้องปรับรูปประโยคให้กูน่าอ่านมากขึ้น บางครั้งก็ต้องหาคำๆ อื่นมาพิมพ์ใหม่เพื่อให้การสื่อสารดูง่ายขึ้น โดยเฉพาะอีบุ๊คเล่มเก่าที่เราเคยทำไป ลองจับมานั่งอ่านก็จะพบว่า จะมีบางคำที่เราสามารถปรับแต่งได้ เพื่อให้อีบุ๊คดูน่าสนใจมากขึ้น การทำแบบนี้จะทำให้อีบุ๊คเราเป็นอีบุ๊คที่ขายได้ในระยะยาว เพราะมีการปรับปรุงเนื้อหาอยู่ตลอด
ยกตัวอย่างกรณีอีบุ๊คของอ้อม โดยปกติ อ้อมจะไม่ค่อยได้ใช้บริการซื้อแบนเนอร์ กับขั้นตอนการขายอีบุ๊ค แต่จะใบบริการแบนเนอร์กับกระบวนการโปรยบทความออกไปมากกว่า บทความที่ใช้เปิดตัวอีบุ๊คอ้อมพิมพ์ไม่น้อยกว่า 1,000 ตัวอักษร บวกลบนิดหน่อย หลังจากเปิดตัว อ้อมจะไม่ทำอะไรกับบทความนั้นๆ เลย จะกดแชร์ก็แค่ครั้งแรกเท่านั้น หลังจากนั้นไม่นาน คากการณ์ว่าไม่เกิด 15 วัน ถึง 1 เดือน อีบุ๊คก็จะเริ่มขายได้เรื่อยๆ และอ้อมก็จะใช้เวลาจากยี้ สานต่ออีบุ๊คเล่มต่อไป และคอยกลับมาดูระบบที่เราสร้างไว้อย่างกับอีบุ๊คเล่มเดิมเรื่อยๆ
เมื่อโพสบทความเปิดตัวไปแล้ว อ้อมจะใช้บริการของฟรี ตามโลกโซเชียว ตามเว็บฯประกาศขายสินค้าฟรีๆ ตามเว็บบอร์ดต่างๆ ที่เกี่ยวกับเนื้อหาภายในอีบุ๊ค
Affiliate หลายๆ คนอาจจะยังมองภาพไม่ออก ก็คือบริการให้เรานำสินค้าขึ้นไปขาย และจะมีสมาชิกเว็บฯเขา นำสินค้าของเราไปโปรโมทอีกต่อ โดยเราจะต้แวเสียค่าทำเนียมเมื่อขายได้ ข้อดีคือ โอกาสขายได้มีสูง เพราะคนเห็นสินค้าเราเยอะ แต่ก็ต้อวจัดการให้ดี เพราะยิ่งคนเยอะ ปัญหาก็จะยิ่งเยอะตามไปด้วย
การสร้างแฟนเพจ เป็นสิ่งที่เราต้องทำอยู่แล้ว ดังนั้นขั้นตอนอ้อมคงไม่ต้องอธิบายให้มาก โดยส่วนตัวอ้อมจะสร้างแฟนเพจกลางไว้เพจนึง ตอนนี้ก็คือเพจ "อยากขายของออนไลน์ต้องทำไง" สามารถติดตามกันได้เลย เวลามากิจกรรม เปิดตัวการขายอะไรบางอย่างอ้อมก็จะนำไปโปรโมทผ่านแฟนเพจตัวนี้ ที่อ้อมไม่สร้างแฟนเพจย่อยๆ เพราะการจัดการจะง่ายกว่า ดูแลทั่วถีงกว่าจ้า
การส่งอีเมลล์ก็เป็นอีกขั้นตอนที่เราสามารถำได้แบบฟรีๆ โดยรวบรวมรายชื่ออีเมลล์ที่มีคนสนใจ ส่วนนี้มือใหม่อาจจะยังไม่มี แต่ถ้าคุณเป็นมือเก่าบอกเลยว่าไม่ยากที่จะได้อีเมลล์ของกลุ่มเป้าหมายมาจ้า ถือว่าเป็นการประชาสัมพันธ์ กันแบบฟรีๆ อีกวิธีนึงที่ได้รับความนิยม เพราะเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้แบบตรงๆ จ้า
จากหัวข้อก็บอกไว้อยู่แล้วว่า 8 ขั้นตอนเพื่อสร้างอีบุ๊คของตัวเอง สำหรับมือใหม่ งานนี้ฟรี งานนี้ไม่มีเสียตังค์สักกะบาก อ้อมแนะนำให้ฟรีๆ เก็บจากประสบการณ์มาแชร์ให้เห็นภาพกันเลย กับ 8 ขั้นตอนที่จะได้พูดถึงกัน เอาล่ะเราไปเริ่มกันเลยจ้า
8 ขั้นตอนเพื่อสร้างอีบุ๊คของตัวเอง สำหร้บมือใหม่แนะนำควรอ่าน |
8 ขั้นตอนเพื่อสร้างอีบุ๊คของตัวเอง
สำหร้บมือใหม่แนะนำควรอ่าน
1. ค้นหาความต้องการของตลาด สอบถามไอเดีย จากเพื่อน และคนในครอบครัว
สำหรับคนที่ไม่รู้จะเริ่มยังไง หัวข้อนี้คงให้คำตอบได้ในขั้นตอนแรกๆ การมองหาความต้องการของกลุ่มลูกค้า ที่อ้อมเคยทำและดูเหมือนจะได้ผล คือ อ้อมจะนำข้อมูลเน้นสิ่งที่ตนเองรู้ และวิเคราะห์ออกมาเป็นคำพูด เป็นประโยค เป็นคีย์เวิร์ด สิ่งที่ออกแยกออกมาล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งที่อ้อมอยากรู้ อยากลอง บางข้อมูลก็เป็นสิ่งที่เคยผ่านมาแล้ว แต่อ้อมก็นำข้อมูลตั้งต้นที่อ้อมเคยสงสัยมาค้นหาด้วยเหมือนกันการค้นหา อ้อมใช้เครื่องมือที่เราคุ้นเคยกันดีนั้นคือ Google จ้า อาศัยพี่กูเท่านั้นค่ะ นำข้อมูลที่เราคัดแยกเอาไว้มาค้นหา โดยอ้อมจะดูตัวเลขผลค้นหาที่ได้ หากตัวเลขมีประมาณเยอะๆ หลักแสันขึ้นแสดงว่า ข้อมูลหรือหัวข้อนั้นๆ มีคนสนใจเยอะ คีย์,ประโยคที่เรายำไปค้นหาถึงได้มีคนมาแนะนำข้อมูลเอาไว้เยอะขนาดนี้ แต่ถ้าผลการค้นหามีน้อยแบบหลักหมื่นหลักพัน แต่เวลาเราพิมพ์ข้อมูลลงข่องการค้นหา มีคำแนะนำต่อนอดออกมาเยอะ หรือหลายคีย์แสดงว่ามีคนเคยค้นหาข้อมูลตัวนั้นอยู่ แต่อาจจะยังไม่มีคนออกมาเผยแพร่ หรือ หาจ้อมูลได้ยาก แต่ถ้าผลกาค้นหามีน้อยและไม่มีคีย์แนะนำต่อยอดเลย แสดงว่าข้อมูลหรือหัวข้อนั้นๆ ที่เราคัดไว้ อาจจะยังไม่โดนหรือ เราอาจจะต้องเปลี่ยนคำพูด รูปแบบประโยคใหม่เพื่อนำมาค้นหาอีกครั้งเพื่อวัดผล
โดยส่วนตัวอ้อมวัดผลให้ตัวเลขอยู่ช่วงกลางๆ บางท่านอาจจะงง ว่ากลางแบบไหน อ้อมจะค้นหาค่ย์ที่อ้อมคัดกลองทุกคีย์ ทุกประโยค แล้วเอาตัวเลขเยอะสุด และต่ำสุดมาเปรียบเทียบกัน จากนั้นอ้อมจะคิดในใจว่าตัวเลขผลการค้นหาที่เราอยากเอามาเป็นหัวข้อในการเขียนอีกบุ๊คคืออะไร คีย์ไหน ประโยคไหน เมื่อได้คีย์ คำ หรือประโยคที่เหมาะสมแล้ว อ้อมก็จะเริ่มหาคีย์รองสำหรับนำไปประกอบเนื้อหา ค่ย์รองในที่นี้คือคีย์หรือประโยคที่เกี่ยวข้องกับค่ย์หลัก
บางท่านอาจจะสงสัยแล้วว่าทำไมต้องหาคีย์หลักคีย์รองด้วย เราเขียนอีบุ๊คไม่ใช่เหรอ คำตอบที่อ้อมจะให้คือ ค่ย์หลักคีย์รองเหล่านี้จะเป็นตัวปูทางไปหาอีบุ๊คขอวเราอย่างดีเลยจ้า ในบทความก่อนหน้าอ้อมได้แนะนำเอาไว้แล้วว่าก่อนที่อ้อมจะเปิดตัวอีบุ๊คอ้อมจะมีการโปรยเนื้อหา บทความออกไปในปริมาณนึงเลย และตบท้ายด้วยบทความเกี่ยวกับอีบุ๊คแบบเต็มๆ ในวันเปิดตัวอีบุ๊ค จากนั้นก็จะเป็นยทความสนับสนุนการขายเสริมบทความเปิดตัวอีกที และคีย์หลักคีย์รองเหล่านี้เราจะใช้สำหรับเขียนยทความ รสมถึงเนื้อหาในอีบุ๊คของเรานั่นเองจ้า
ยิ่งผลการค้นหามีตัวเลขประมาณการณ์เยอะเท่าไร ความนิยมในเนื้อหานั้นๆ ก็มีโอกาสที่เราจะขายอีบุ๊คได้สูงเช่นกัน
ทำไมคุณอ้อมถึงแนะนำ ให้เอาคีย์ที่มีตัวเลขประมาณการณ์แบบกลางๆ ล่ะ ทำไมไม่เอาคีย์ที่เป็นตัวเลขแบบสูงๆ ไปเลย น่าจะส่งผลทำให้อีบุ๊คขายดีมากเลยทีเดียว แน่นอนสำหรับความคิกแบบนั้นอ้อมคงไม่ปฏิเสธว่าไม่ถูก แต่เพราะเราเป็นมือใหม่ การที่เราออกตัวแรงเกินไปก็อาจจะส่งผลเสียมากกว่าที่จะเกิดผลดี เช่น อีบุ๊คดังไปโดนเพื่อนร่วมโลกนิสัยดีนำไปปล่อยฟรีให้เป็นต้นจ้า ดังนั้นอะไรที่อยู่กลางๆ จะถือว่าดีในระดับมือใหม่ แต่ถ้าเรามองว่าอยากออกตัวแรงก็ไม่เป็นไร งานนี้จัดเต็มได้เลยจ้า
นั่นคือวิธีการสำรวจความต้องการที่เราสามารถทำได้กันทุกๆ คน วิธีต่อมาที่อ้อมเคยทำมาคือ การสอบถามไอเดียจากเพื่อนที่ชอบเรื่องราวเดียวกัน และสไตล์ความชอบคล้ายๆ กัน หาไอเดียจากความคิดเห็น จากการพูดคุยสนทนา จากประสบการณ์อ้อมได้ไอเดียการทำอีบุ๊คเยอะมากๆ จากการพูดคุยสนทนาทั้งจากลูกค้า จากเพื่อนร่วมงาน จากครอบครัว บางเรื่องราวได้รับไอเดียจากคนที่ไม่เคยชอบอะไรเหมือนเราเลย แต่คำพูดเขาทำให้เรามองมุมมองของคนที่ไม่เคยรู้ได้ดีมากๆ สิ่งที่เราต้องทำคือ ทำยังไงเขาถึงจะชอบอะไรเหมือนๆเรา หรือทำให้เขาอยากรู้บางสิ่งที่เขาอาจจะยังไม่เคยรู้มาก่อน สอบถามความคิดเห็น คุยกันเล่นๆ ก็ได้ไอเดียดีๆ นำมาต่อยอดเป็นประโยคเป็นคีย์ เพื่อค้นหาทาง Google และต่อยอดเป็นบทความปูพื้นฐานไปหาอีบุ๊ค
มาถึงตรงนี้เชื่อว่าหลายคนคงเริ่มสงสัยแล้วว่า แล้วกรณีความชอบที่เราอยากทำ ถ้าเกิดว่าค้นหาแล้วไม่มีจะทำยังไง จากประสบการณ์ และจากที่เคยทำมา พฤติกรรมของคนเราส่วนใหญ่ในยุคนี้ หากหาต้องการอยากรู้ข้อมูลเกร่ยวกับอะไรสักอย่าง จะเริ่มต้นจากอินเตอร์เน็ต เพราะเข้าถึงง่ายมากๆ ลำดับต่อมาจากหนังสือและห้องสมุด ทุกๆ ครั้งที่มีการค้นหาคำบางคำ หรือประโยคบางประโยคระบบของ Google จะทำการเก็บข้อมูลพื้นฐานเอาไว้ เพื่ออ้างอิงสำหร้บการทำสถิติต่อยอด หากกรณีสิ่งที่เราชอบ และอยากทำเป็นอีบุ๊ค ลองทำจามขั้นตอนที่อ้อมแนะนำเอาไง้แล้ว ก็ยังไม่ได้ หร่อไม่มีข้อมูลเพียงพอ หรือมีน้อยมากๆ ก็อย่าพึ่งตกใจวาาเรื่องที่เราชอบจะไม่มีคนชอบเหมือนกัน
ที่อ้อมอยากแนะนำหากเกิดกรณีข้อมูลไม่เพียงพอสำหรับให้เราตัดสินใจ ให้ลองนึกถึงเว็บฯบอร์ดที่เรารู้จัก หรือเว็บฯบอร์ดดังๆ เช่น พันธ์ทิพย์, thaiseoboard, Sanook, kapook, dekdee, เป็นต้น ลองสร้างไอดี หรือยืมไอดีเพื่อนๆ เพื่อขอตั้งกระทู้ โดยให้สมมติตัวเองว่าอยากรู้นั้นเรื่องนี้ที่เกี่ยวหับสิ่งที่ตัวเองชอบ เพื่อดูผลตอบรับจากคอมเม้นฯว่สจะมีคนสนใจสิ่งที่เราตั้งคำถามไปหรือไม่ แน่นอนหากเป็นเว็บฯบอร์ดดังๆ ก็มักจะมีคนเข้าอยู่มากๆ เป็นวิธีการที่เราสามารถนำไปมาปรับใช้ต่อยอดของเราเองได้เลย หรือบางคนอาจจะไม่มั่นใจ ไม่ชัวร์ก็ทำทั้งสองวิธีควบคู่กันไปเลย แต่อ้อมเชื่อว่าสิ่งที่เราชอบจะมีคนที่ชื่นชอบเหมือนเรา อยากรู้ และยากต่อยอดเหมือนเราเช่นกัน โดยส่วนตัวอ้อมจะลุยเลย หากได้ข้อมูลพื้นฐานที่แนะนำข้างต้นแล้ว
2. คนอ่านจะได้อะไรจากการอ่านอีบุ๊คเล่มนี้
จากมุมมองที่ได้แนะนำไปหัวข้อที่แล้ว คงพอมองภาพกันออกแล้วว่าจุดเริ่มต้นของการที่จะมีอีบุ๊คเป็นของตัวเอง นอกจากความชอบ ความสนใจส่วนตัวแล้ว เราอาจจะต้องสำรวจตลาดเพื่อเสาะหาความต้องการจริงๆ ว่ามีความเป็นไปได้หรือไม่ ที่จะสร้างอีบุ๊คสักเล่มเป็นของตัวเองมาถึงหัวข้อนี้ เมื่อเราผ่านกระบวนการในขั้นตอนแรกมาแล้ว ตอนนี้เราก็จะได้หัวข้อสำหรับการสร้างอีบุ๊คของเราเองมาแล้ว
เมื่อได้หัวข้อแล้ว เราจะต้องมาแตกย่อยรายละเอียด ถึงความต้องการ ในขั้นตอนแรกให้สมมติว่าเราเป็นผู้ซื้อ เมื่อพิจารณาในหัวข้อที่เราแตกย่อยออกมาบางส่วน เมื่อเราพบเห็นอีบุ๊คเล่มนี้ เราจะได้อะไรจากอีบุ๊คเล่มนี้ ความรู้สึกเหมือนเรากำลังอยากรู้เรื่องนี้ เดินไปร้านหนังสือแล้วมองหา หนังสือสักเล่ม จากนั้นก็หยิบเล่มเป้าหมายออกมาดู เพื่อจะดูหัวข้อในหนังสือ คำโปรย สารบัญ เพื่อหาหัวข้อ เนื้อเรื่องที่เราต้องการอยากรู้ อยากศึกษา รายละเอียดที่อ้อมไล่ลำดับมา เราต้องมีเขียนเอาไว้ในบทความสำหรับขายอีบุ๊ค และส่วนหนึ่งอยู่บนหน้าปกอีบุ๊คด้วย บอกเล่าถึงความคาดหวัง สิ่งที่จะได้รับเมื่อได้อ่านอีบุ๊คเล่มนี้ รวมถึงของแถมถ้ามี บอกเลยว่าของแถมเป็นตัวดึงดูด และจูงใจลูกค้าในระดับนึงเลยก็ว่าได้ ยกตัวอย่างเช่น อ้อมทำอีบุ๊คเกี่ยวกับไอมาโคร ของแถมที่อ้อมมีก็จะเป็นชุดโค้ดไอมาโครแบบสำเร็จรูป สำหรับทำงานต่อยอดได้ ถ้าเป็นอีบุ๊คเกี่ยวกับการค้าขาย ของแถมก็จะเป็นลิสรายชื่อเว็บโพสประกาศ เป็นต้น
ในขั้นตอนต่อมา เมื่อเราลองสมมติตัวเองแล้ว เราลองมองหาเพื่อน พี่น้อง หรือครอบครัวที่พอจะชอบเรื่องราวหรือหัวข้อที่เราจะเขียนอีบุ๊ค จากนั้นลองสอบถามเขา สมมติถ้ามีหนังสือเรื่องนี้ อยากรู้อะไรมากที่สุดถ้าได้อ่านอีบุ๊คเล่มนี้หรือถ้ามีอีบุ๊คที่เกี่ยวกับเรื่องนี้ อยากได้ไหม เป็นต้น
โดยจิตวิทยา หากอีบุ๊คของเราสามารถต่อยอดเป็นรายได้ขอวกลุ่มเป้าหมายได้ จะเป็นตัวกระตุ้นการทำงานของลูกค้าได้ดีในระดับนึง โดยมากอ้อมจะไม่เน้นอีบุ๊คที่แนะนำให้ลูกค้าทำตามแล้วได้เงิน เพราะอีบุ๊คเราขายได้ในระยะสั้นเท่านั้น อ้อมจะไม่บอกว่าอ่านอรบุ๊คเล่มนี้แล้วรับรองว่าคุณมีรายได้เท่านั้นเท่านี้ ส่วนใหญ่อียุ๊คอ้อมออกไปในทาง How to วิธีการต่างๆ มากกว่า เพราะเรื่องแบบนี้เราทำรายได้แบบยาวๆ ได้
การทำให้ผู้ซื้อรับรู้คร่าวๆ ว่าอ่านแล้วจะได้อะไร อีบุ๊คมีอะไรประกอบบ้าง ถือมีจุดขายด่านแรกๆ ที่ลูกค้าจะตัดสินใจสั่งซื้ออีบุ๊คจากเรา
3. กำหนดหัวข้อของอีบุ๊คแบบคร่าวๆ และระยะเวลาทั้งหมดจะใช้เวลาทำงานเท่าไหร่
ขั้นตอนนี้เราได้ทำไปบ้างแล้วในหัวข้อที่แล้ว อาจจะยังไม่ละเอียดพอ มาคราวนี้จะเป็นการแตกรายละเอียดย่อยของแต่ละหัวข้อ มองให้เป็นสารบัญ ที่จะมีในอีบุ๊คของเรา โดยในแต่ละหัวข้อเราต้องคาดการณ์ระบุระยะเวลาในการสร้างเนื้อไปด้วย ท้ายที่สุดต้องกำหนดเวลารวม เพื่อให้การทำงานของเรามีรูปแบบที่ชัดเจน สามารถคาดการณ์ได้ถือเป็นขั้นตอนที่สำคัญมากๆ ขั้นตอนนึง หลายๆ คนมักหลงทางเวลาทำงาน อ้อมกำลังหมายถึง เมื่อเรากำลังใจจดใจจ่ออยู่กับเรื่องใดเรื่องนึง เราจะสามารถแตกย่อยในรายละเอียดเนื้อหา ปัญหาต่างๆ ได้มากกว่าปกติ เมื่อเจอปัญหา หรือมีความคิดอะไรใหม่แตกย่อยขึ้นมาเราอาจจะไปจดจ่ออยู่กับสิ่งนั้นมากเกินจนลืมตารางงานและเป้าหมายเดิมที่ตั้งไว้ การกำหนดหัวข้อ และกำหนดระยะเวลาการทำงานทั้งหมดเอาไว้ก็เพื่อไม่ให้เราหลงทางกับแนวคิดใหม่ๆ ที่เพิ่มขึ้นมา ส่วนแนวคิดอะไรที่มีเพิ่มเข้ามาเราอาจจะลิสรายการเอาไว้ เพื่อต่อยอดอีบุ๊คเล่ม 2 หรืออีบุ๊คแถมฟรีควบคู่การขายเล่มแรกนี้ก็ได้
4. กำหนดรูปแบบอีบุ๊คทั้งเรื่องการออกแบบการจัดวาง ไอเดียการนำเสนอ
หลังจากได้หัวข้อ และกำหนดระยะเวลาในแต่ละหัวข้อเรียบร้อย เราก็จะมาเริ่มงานจัดวางกัน ทุกอย่างต้องมีการจัดระเบียบการจัดวางที่ดี การออกแบบที่ดึงดูดความสนใจ อ่านง่ายสบายตา ไม่อึดอัดหัวข้อนี้ถ้าเปรียบ ก็คงเสมือนการไปเที่ยวเมืองที่เจริญแล้ว เช่น ญี่ปุ่น เป็นต้นเรามักพบว่า สินค้าหลายๆ ชิ้นรสชาติไม่ได้ดีเด่นอะไร แต่ทำไมแพ็คเกตสวยสะดุดตาน่ามอง น่าหยิบมากขนาดนี้ เช่นเดียวกัน การทำอีบุ๊ค เรื่องการกำหนดรูปแบบ การจัดวาง รวมถึงการนำเสนอ ก็เหมือนการสร้างหีบห่อ แพ็คเกตต่างๆ เราควรมีการจัดระเบียบ การออกแบบ เพื่อให้งานนำเสนอของเรา ไม่ดูจำเจ ดูน่าเบื่อ โดยส่วนตัวอ้อมชอบอะไรที่เป็นระเบียบ อ้อมจะใช้หลักการพื้นฐานเพื่อปรับใช้กับงาน เช่นการจัดย่อหน้า การแทรกรูป การนำเสนอด้วยวีดีโอ แต่อย่างไรก็ตามทุกๆ อย่างก็จะไปหยุดอยู่ที่เนื้อหาในอีบุ๊ค หากเนื้อหาดี มีคุณภาพ บอกเลยว่ามีชัยไปกว่าครึ่งจ้า อ้อมกำลังหมายถึงเนื้อหาที่แนะนำกันแบบตรงๆ เข้าถึงวิธีการต่างๆ จริงๆ ไม่ใช่แค่หยิบความหมาย และทฤษฎีมาคุยกัน ของแบบนี้หาอ่านในห้องสมุดก็ได้ อะไรประมาณนั้นจ้า
5. เริ่มเขียนอีบุ๊คตามเนื้อหาที่เรากำหนด
หลังจากที่เราได้วางแผนการทำงาน กำหนดระยะเวลา รูปแบบการจัดวางเป็นที่เรียบร้อยแล้ว มาถึงขั้นตอนนี้เราจะต้องเริ่มกระบวนการทำงานตามแผนที่เราได้ทำเอาไว้ก่อนหน้า โดยส่วนใหญ่การสร้างเนื้อที่เป็นข้ความตัวหนังสือ ไม่ค่อยมีปัญหาสำหรับอ้อม อ้อมจะไปเสียเวลากับขั้นตอนการสร้างตัวอย่าง การสร้างงานกราฟฟิครูปภาพเพื่อใช้สื่อความหมาย เพราะขั้นตอนแต่ละขั้นตอนเราต้องค่อยๆ ทำ ค่อยๆ เก็บภาพ จุดไหนที่ควรเน้นย้ำ จุดไหนที่ควรนำเสนอพร้อมวีดีโอ ส่วนนี้จะต้องใช้เวลาเยอะ กว่าจะถ่ายทำ ความจะตัดต่อตกแต่งที่ต้องมีการตัดต่อตกแต่งก็เพราะ เราไม่อาจรู้ได้ว่าเวลาที่เราเปิดขายไปนานๆ เข้าจะมีเพื่อนร่วมโลกของเรานำไปปล่อยต่อหรือไม่ ซึ่งแน่นอนว่ามีโอกาสเป็นไปได้สูง จุดนี้เราคงไม่อาจห้ามได้ หรือป้องกันได้ยากมากๆ สิ่งที่อ้อมทำอยู่ตลอดคือ พยายามใส่ความเป็นตัวตนของเราเข้าไปในตัวงานให้มากที่สุด รูปถ่าย ลายเซนต์ เอกลักษณ์ ต่างๆ เพื่อให้คนที่ร้บต่อ สามารถรับรู้ได้ว่าตัวงานนี้ อีบุ๊คเล่มนี้เป็นของใคร ถือว่สเป็นการต่อยอดการโฆษณาไปในตัวจ้า เพราะถ้าของๆ เราดีจริงๆ ยังไงเขาก็กลับมาซื้อกับเรา แต่อาจจะเป็นเล่มอื่นนะคะ
กระบวนการสร้างเนื้อหา หากเป็นบทเกริ่นนำทั่วไป เราอาจจะจ้างนักเขียนทำให้ก็ได้ มีคนรับเขียนบทความเพียบเลย ราคาก็น่าจะอยู่ที่ 400-800 บาท ขึ้นอยู่กับเนื้อหา ความต้องการ และความรู้เชิงเทคนิคของแต่ละคน รูปภาพถ้าเราไม่ถนัด ควรค้นหาเครื่องมือ ที่จะช่วยให้เราทำงานง่ายขึ้น แบบว่าเอารูปแปะแล้วก็ได้ผลงานสวยๆ มาประกอบอีบุ๊ค ในโลกออนไลน์มีเพียบเลยจ้า แต่โดยส่วนตัว อ้อมใช้การถ่ายทำ แล้วก็ใส่ลายเซนต์ ปรับระดับเสียงนิดหน่อยก็ใช้งานได้เลย ส่วนงานกราฟฟิค บางครั้งอ้อมก็ทำจากโปรแกรม Paint บางครั้งก็โปรแกรมตกแต่งงานกราฟฟิค เน้นความเรียบงาน สื่อสารเข้าใจ ก็ถือว่าใช้งานได้ ขายออกแล้วจ้า
6. ค้นหา และลิสรายการช่องทางการโปรโมท ไม่ว่าจะเป็นสร้างเว็บฯของตัวเองใช้บริการเว็บฯฟรีๆ หรือจ่ายเงินเพื่อซื้อเครื่องมือสำหรับการโปรโมท
ขั้นตอนนี้ถือเป็นขั้นตอนที่สำคัญยิ่ง การที่เราจะขายอีบุ๊คให้ได้ แน่นอนเราก็กำหนดกลุ่มเป้าหมาย ค้นหาความต้องการ ซึ่งเราก็ได้ทำผ่านมาแล้วจากขั้นตอนที่แล้วขั้นตอนนี้เอาเข้าจริงๆ โดยส่วนตัวอ้อมไม่ได้รอให้อีบุ๊คเสร็จแล้วค่อยเริ่มหาแหล่งที่จะโปรโมท อย่างที่ได้แนะนำมาในบทความครั้งก่อนหน้า พอรู้ว่าตัวเองจะทำอีบุ๊คเรื่องอะไร มีหัวข้อแบบไหน อ้อมก็จะเริ่มสร้างบทความ สร้างบล็อค สร้างเนื้อหาเพื่ออัพขึ้นบล็อค โปรโมทบทความอย่างต่อเนื่อง ตามโลกโซเชียว เพื่อเป็นการปูทางให้กับอีบุ๊คที่จะเปิดตัวในเร็ววัน เนื้อหาที่อ้อมโปรโมทออกไปส่วนใหญ่จะเป็นเนื้อหาสาระความรู้ที่เกียวกับหัวข้อสำคัญ นำเสนอปัญหา วิธีแก้ไขเบื่องต้น แต่ไม่ได้นำเสนอจนหมดเปลือก อ้อมจะบอกเล่าวิธีการบางขั้นตอนที่เราๆ ทำกัน แต่เอาวิธีการสำคัญๆ ที่เป็นวิธีการต่อเนื่องไปเน้นกันที่อีบุ๊คอีกรอบ เพื่อให้ผู้อ่านรับรู้ได้ว่านอกจากประโยชน์หาก ณตอนที่อ่านบทความได้สาระความรู้อะไร แต่หากได้ซื้ออีบุ๊คเราจะได้รู้ยิ่งกว่า
หากให้เปรียบเพื่อมองเห็นภาพมากขึ้น ก็เหมือนการปลูกพืช ไม่ว่าจะเป็นไม้ล้มลุก ไม้ยืนต้นต่างๆ แน่นอนว่าเราปลูกพืชย่อมหวังผล ผลนั้นจะเป็นดอก หรือผลที่กินได้ก็ตามแต่ ก็เปรียบเหมือนการขายของได้เช่นกัน
แต่การที่เราจะได้กินผล ไม่ใช่ว่าปลูกปุ๊บได้กินผลผลิตปั๊บ เราต้องมีการเตรียมพื้นที่ เตรียมดิน เมื่อเริ่มปลูก เราก็ต้องมีการใส่ปุ๋ยรดน้ำ อยากให้ออกใบเยอะ ก็ต้องใส่ปุ๋ยบำรุงใบ อยากให้รากแข็งแรงก็ต้องเน้นปุ๋ยกระตุ้นการแตกราก ทั้งสองส่วนหากเราขาดส่วนใดส่วนหนึ่ง คงไม่ต้องพูดถึงการแตกดอกก่อนที่จะเป็นผลเลยจ้า ไม่มีแน่นอน หรทอมีก็น้อยมากๆ ดังนั้น พื้นฐานเป็นเรื่องสำคัญเราจะทำอีบุ๊คเรื่องใด เราก็ควรมีการปูทาง ควรมีการออกมาแชร์สาระคสามรู้อย่างต่อเนื่อง เป้าหมายเพื่อเพิ่มความชำนาญเพื่อเพิ่มฐานให้กับอีบุ๊คของเรา และเป็นเส้นทางระยะยั่งยืนที่จะทำให้อีบุ๊คเล่มนั้นๆ ขายได้ยาวๆ
แล้วถ้าเราไม่เตรียมแบบที่ว่าล่ะ มันยุ่งยากเกินไป ขอเป็นทำเสร็จซื้อแบนเนอร์ยได้ไหม แบบนี้ก็ได้ค่ะ แต่ได้ระยะสั้น การที่เราเอาเงินไปลงทุนเพื่อให้คนสนใจอีบุ๊คของเรา แน่นอนโอกาสขายได้มีแน่ๆ เพระาคนเห็นอีบุ๊คเราเยอะ แต่ถ้าเราเคยซื้อแล้วไม่ซื้ออย่างต่อเนื่อง ผลที่ได้คือ จากที่มีลูกค้าเพียบเลย กลับกลายเป็นหายวั๊ปไปกับตา ตรงจุดนี้อาจจะต้องเลือกว่าเราเหมาะกับวิธีไหนนะคะ หรือจะลุยทั้งสองแบบก็ไม่ว่ากันจ้า
7. ตรวจสอบเนื้อหาทั้งหมด ก่อนการโปรโมทเพื่อขายจริง
เมื่อผ่านขั้นตอนทั้ง 6 ข้อมาแล้ว มาถึงขั้นตอนที่ 7 ตอนนี้เราน่าจะมีอีบุ๊คออกมาเป็นรูปเล่มพร้อมจะเปิดการขายแล้ว แต่อย่าพึ่งด่วนเปิดตัวไปนะคะ ของแบบนี้ช้าๆ ได้พล้าเล่มงามนะ สิ่งสำคัญประการต่อมาคือ การตรวจสอบความเรียบร้อย ทั้งการพิมพ์ รูปแบบการจัดวาง ตำแหน่งเนื้อหาที่ต่อเนื่อง จุดไหนที่ต้องเน้น คำผิดคำถูกให้มีน้อยที่สุด สิ่งสำคัญคือคำผิด อ้อมเคยสร้างยทความ แล้วพิมพ์คำบางคำผิดไป ส่งผลให้ความหมายที่เราต้องการสื่อสารเพี้ยนไปทันที ซึ่งในภาษาไทยมีหลายคำมากๆ ถ้าพิมพ์ผิดชีวิตเปลี่ยนอะไรประมาณนั้นทั้งนี้การตรวจสอบเนื้อหา อ่านทบทวนอีกรอบ จะทำให้เราแน่ใจได้ว่า การสื่อสารที่เราต้องการสื่ออกไปนั้นใช่อย่างที่ต้องการจริงๆ อ้อมเคยลองมานะ่งทบทวนอีบุ๊คเล่มเดิม บางครั้งก็ต้องปรับรูปประโยคให้กูน่าอ่านมากขึ้น บางครั้งก็ต้องหาคำๆ อื่นมาพิมพ์ใหม่เพื่อให้การสื่อสารดูง่ายขึ้น โดยเฉพาะอีบุ๊คเล่มเก่าที่เราเคยทำไป ลองจับมานั่งอ่านก็จะพบว่า จะมีบางคำที่เราสามารถปรับแต่งได้ เพื่อให้อีบุ๊คดูน่าสนใจมากขึ้น การทำแบบนี้จะทำให้อีบุ๊คเราเป็นอีบุ๊คที่ขายได้ในระยะยาว เพราะมีการปรับปรุงเนื้อหาอยู่ตลอด
8. โปรโมทตามช่องทางต่างๆ ทั้งการหารีวิว, สมัครใช้บริการ affiliate โปรแกรม, สร้างเพจสำหรับขายโดยเฉพาะ , ส่งเมลล์ที่เกี่ยวกับอีบุ๊คของคุณ
ขั้นตอนนี้ดูเหมือนว่าจะเป็นขั้นตอนที่อ้อมเชื่อว่าหลายๆ คนคาดหวังอยากให้เกิดขึ้นเร็วๆ แต่ก็อนากย้ำไวิอีกทว่ากระบวนการทำงานทั้งหมดที่อ้อมได้กล่าวมา สำคัญมากๆ คือ ขั้นตอนการปูพื้นฐาน โปรยเนื้อหา บทความ วีดีโอที่เกี่ยวข้องออกไปเป็นระยะ ก่อนอีบุ๊คเปิดตัว ที่อ้อมบอกว่าสิ่งนี้สำคัญก็เพราะว่า การทำแบบนี้ก็เหมือนการสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อการขายที่ดี พออีบุ๊คเราเปิดตัว โอกาสเปิดการขายในเร็ววัน ก็จะเพิ่มมากขึ้นยกตัวอย่างกรณีอีบุ๊คของอ้อม โดยปกติ อ้อมจะไม่ค่อยได้ใช้บริการซื้อแบนเนอร์ กับขั้นตอนการขายอีบุ๊ค แต่จะใบบริการแบนเนอร์กับกระบวนการโปรยบทความออกไปมากกว่า บทความที่ใช้เปิดตัวอีบุ๊คอ้อมพิมพ์ไม่น้อยกว่า 1,000 ตัวอักษร บวกลบนิดหน่อย หลังจากเปิดตัว อ้อมจะไม่ทำอะไรกับบทความนั้นๆ เลย จะกดแชร์ก็แค่ครั้งแรกเท่านั้น หลังจากนั้นไม่นาน คากการณ์ว่าไม่เกิด 15 วัน ถึง 1 เดือน อีบุ๊คก็จะเริ่มขายได้เรื่อยๆ และอ้อมก็จะใช้เวลาจากยี้ สานต่ออีบุ๊คเล่มต่อไป และคอยกลับมาดูระบบที่เราสร้างไว้อย่างกับอีบุ๊คเล่มเดิมเรื่อยๆ
เมื่อโพสบทความเปิดตัวไปแล้ว อ้อมจะใช้บริการของฟรี ตามโลกโซเชียว ตามเว็บฯประกาศขายสินค้าฟรีๆ ตามเว็บบอร์ดต่างๆ ที่เกี่ยวกับเนื้อหาภายในอีบุ๊ค
Affiliate หลายๆ คนอาจจะยังมองภาพไม่ออก ก็คือบริการให้เรานำสินค้าขึ้นไปขาย และจะมีสมาชิกเว็บฯเขา นำสินค้าของเราไปโปรโมทอีกต่อ โดยเราจะต้แวเสียค่าทำเนียมเมื่อขายได้ ข้อดีคือ โอกาสขายได้มีสูง เพราะคนเห็นสินค้าเราเยอะ แต่ก็ต้อวจัดการให้ดี เพราะยิ่งคนเยอะ ปัญหาก็จะยิ่งเยอะตามไปด้วย
การสร้างแฟนเพจ เป็นสิ่งที่เราต้องทำอยู่แล้ว ดังนั้นขั้นตอนอ้อมคงไม่ต้องอธิบายให้มาก โดยส่วนตัวอ้อมจะสร้างแฟนเพจกลางไว้เพจนึง ตอนนี้ก็คือเพจ "อยากขายของออนไลน์ต้องทำไง" สามารถติดตามกันได้เลย เวลามากิจกรรม เปิดตัวการขายอะไรบางอย่างอ้อมก็จะนำไปโปรโมทผ่านแฟนเพจตัวนี้ ที่อ้อมไม่สร้างแฟนเพจย่อยๆ เพราะการจัดการจะง่ายกว่า ดูแลทั่วถีงกว่าจ้า
การส่งอีเมลล์ก็เป็นอีกขั้นตอนที่เราสามารถำได้แบบฟรีๆ โดยรวบรวมรายชื่ออีเมลล์ที่มีคนสนใจ ส่วนนี้มือใหม่อาจจะยังไม่มี แต่ถ้าคุณเป็นมือเก่าบอกเลยว่าไม่ยากที่จะได้อีเมลล์ของกลุ่มเป้าหมายมาจ้า ถือว่าเป็นการประชาสัมพันธ์ กันแบบฟรีๆ อีกวิธีนึงที่ได้รับความนิยม เพราะเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้แบบตรงๆ จ้า
ไม่มีความคิดเห็น :
แสดงความคิดเห็น